วันเสาร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2558

อาชญากรรมและอาชญากรคอมพิวเตอร์ 3

วิธีป้องกันการเข้าถึงข้อมูลและคอมพิวเตอร์
1. ใช้ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน
2.ใช้วัตถุเพื่อการสู่ระบบ
3.ใช้อุปกรณ์ทางชีวภาพ
4.ระบบเรียกกลับ
การป้องกันการเข้าถึงข้อมูลและคอมพิวเตอร์

อาชญากรรมและอาชญากรคอมพิวเตอร์ 2

    การใช้คอมพิวเตอร์ในฐานะเป็นเครื่องมีอในการก่ออาชญากรรม
1.การขโมยหมายเลขบัตรเครดิต
2.การแอบอ้าง
3.การกราดตรวจทางคอมพิวเตอร์
    คอมพิวเตอรืในฐานะของเป้าหมายอาชญากรรม 3 ประเด็น
1.การเข้าถึงและการใช้งานโดยไม่ได้รับอนุญาต
2.การก่อกวนหรือทำลายข้อมูล
3.การขโมยข้อมูลและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
    วิธีการใช้ในการกระทำความผิดทางอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
1. ดาตาลิง  คือ  การเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต
2.โทรจันฮอร์ส การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรืที่แฝงไว้ที่มีปรธโยชนื
3. ซาลามิเทคนิค วิธีการปัดเศษจำนวนเงิน
4.ซูเปอร์แซพปิง เป็นโปรแกรมที่ใช้ในศูนย์คอมพิวเตอร์ของบริษัทIBM
5.แทรปดอร์ การเขียนโปรแกรมที่เลียนแบบคล้ายหน้าจอปกติ
6.ลอจิกบอมบ์ การเขียนดปรแกรมคำสั่ง สามารถใช้ติดตามความเคลื่อนไหวของระบบบัญชี
7.อัสซินครอนีสแอตแทก คือ สามารถทำงานหลายอย่างพร้อมกัน
8.สกาเวนจิง คือ วิธีการที่จะได้ข้อมูลที่ทิ้งไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
9.ดาตาลีเกจ หมายถึง การกระทำให้ข้อมูลรั่วไหล
10 พิกกีแบงกิง ทำได้ทั้งกายภาพ
11.อิมเพอร์ซันเนชัน คือ การที่คนร้ายแกล้งปลอมเป็นบุคคลอื่น
12.ไวร์แทปพิง เป็นการลักลอบดักฟังสัญญาณสื่อสารโดยเจตนา
13.ซิมูเลชันแอนโมเดลลิง เครื่องในการวางแผนติดตามคามเคลื่อนไหวของอาชญากรรม

อาชญากรรมและอาชญากรคอมพิวเตอร์1

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คือ การกระทำที่ผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์
อาชญากรคอมพิวเตอร์ คือ  ผู้กระทำผิดกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
   1.แฮกเกอร์ คือ บุคคลที่ใช้ความสามารถในทางที่ไม่ถูกต้อง
    2. แครกเกอรื คือ แฮกเกอร์ที่ทำไปเพื่อผลประโยชน์
    3. แอกตีหรือไซเบอร์เทอร์รอริสต์ คือ แฮกเกอร์ที่ทำไปเพื่อผลประโยชน์ทางการเมือง
อาชญากรคอมพิวเตอร์จะก่ออาชญากรรม เป็น 9 ประเภท
1.การขโมยข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
2.การที่อาชญากรนำเอาระบบการสื่อสารมาปกปิกความผิด
3.การละเมิดสิทธิปลอมแปลงรูปแบบ
4. การใช้คอมพิวเตอรืแพร่ภาพ
5.การใช้คอมพิวเตอร์ฟอกเงิน
6. การที่ที่มีอันธพาลทางคอมพิวเตอร์เข้าไปก่อกวนทำลายระบบสาธรณูปโภค
7.การหลอกลวงให้ร่วมค้าขาย
8.การแทรกแวงข้อมูลเป็นประโยชน์ต่อตนโดยมิชอบ
9.การใช้คอมพิวเตอร์แอบโอนบัญชีผู้อื่นเข้ามา

กฎหมายเทคโนโลยี

  โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1.กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
2.กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เพื่อคุ้มครองสังคมจากความผิดทีเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร
3.กฎหมายการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกสื เพื่อคุ้มครองธุรกิจ
4. กฎหมายการสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์  เพื่อการทำนิติกรรมสัญญาทางอิเล็กทรอนิกส์
5.กฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์  เพื่อสร้างความมั่มใจให้แกคู่กรณี
6.กฎหมายการโอนเงินอิเล้กทรอนิกสื  เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค
7.กฎหมายโทรคมนาคม เพื่อวางกลไกลการเปิดเสรีให้มีการแข่งขัน
8.กฎหมายระหว่างประเทศ
9.กฎหมายที่เกี่ยวเนื่องกับอินเทอร์เน็ต
10.กฎหมายพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
การละเมิดกฎหมาย

ความหมายของจริยธรรม2

   ทรัพย์สินทางปัญญา
คือ สิทธิความเป็นเจ้าของหรือในการถือครองทรัพย์สินหรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา
    สิขสิทธิ์ หมายถึง สิทธิแต่ผู้เดียวที่กระทำการใดๆ ซึ่งลิขสิทธิในการป้องกันการคัดลอก ดังกล่าวลิข      สิทธิทั่วไปมีอายุ 50 ปี
    สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสำคัญออกให้คุ้มครองการประดิษฐ์ การประดิษฐ์มีอายุ 20 ปีนับตั้งแต่วันขอรับสิทธิบัตร
    อนุสิทธิบัตร หมายถึง เอกสารสิทธิที่แสดงถึงการจัดทะเบียนคุ้มครองการประดิาฐ์และการออกแบบ
การละเมิดลิขสิทธิ์
    1. การละเมิดสิทธิ์โดยตรง คือ การทำซ้ำ ดัดแปลง โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสทธิ์
    2.การละเมิดสิทธิืโดยอ้อม  คือ การกระทำทางการค้า หรือการกระทำที่มีส่วนนับสนุนดยละเมิดสิทธิของผู้อื่นแต่ยังกระทำเพื่อหากำไรจากงานนั้น ได้แก่ การขาย มีไว้เพื่อขาย เป็นต้น
    การเข้าถึงข้อมูล  ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงได้มีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงของผู้ใช้

ตัวอย่างข้อตกลงการใช้ซอฟต์แวร์

วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ความหมายของจริยธรรม1


   จริยธรรม   หมายถึง    หลักของความถูกและความผิดที่บุคคลใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ
1.การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย
2.การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล
3.การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอรืของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
4.การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
    กรอบความคิดเรื่องจริยธรรม
1.ความเป็นส่วนตัว คือ การเก็บรวบรวม ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับปัจเจกบุคคล
2.ความถูกต้อง  คือ ความถูกต้องแม่นยำ
3.ทรัพย์สินทางปัญญา  คือ กรรมสิทธิ์และมูลค่าของข้อมูลสารสนเทศ
4.การเข้าถึงข้อมูล คือ สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ
    ความเป็นส่วนตัว 
1. การเข้าไปดูข้อความในจดหมาย
2.การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหว
3.การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งต่างๆ
4.การรวบรวมข้อมุลประวัติลูกค้าขึ้นมาใหม่แล้วนำไปขายให้แก่บริษัทอื่น
    ความถูกต้อง
คือ ความถูกต้องและน่าเชื่อถือ ข้อมูลควรได้รับการตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะนำเข้าฐานข้อมูล

ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ2

ผลกระทบในทางลบ
    1.ทำให้เกิดอาชญากรรม การก่ออาชญากรรมโจรผู้ร้ายใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการวางแผนปล้น
    2.ทำให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย ทำให้สามรถติดต่อสื่อสารกันได้โดยไม่เห็นตัว ทำให้ความสัมพันธ์กับผู้อื่นน้อยลง
     3.ทำให้เกิดความวิตกกังวล ผลกระทบทางด้านจิตใจ ทำให้ผู้ใช้แรงงานอาจตกงานหรือหน่วยงานอาจเลิกว่าจ้างได้
    4.ทำให้เกิดการเสี่ยงภัยทางด้านธุรกิหากเกิดการสูยหายของข้อมูลเนื่องมาจากเหตุอุบัติเหตุ
    5.ทำให้มีการพัฒนาอาวุธที่มีอำนาจสูง การสร้างอาวุธที่มีอนุภาพการทำลายสูง ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดสงครามและมีการสูยเสีย
    6.ทำให้เกิดการแพร่วัฒนธรรมและกระจายข่าวสารที่ไม่เหมาะสมอย่างรวดเร็ว ข้อมูลข่าวสารในเรื่องภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น ภาพอนาจารหรือภาพที่ทำให้ผู้อื่นเสียหาย 
    7.ทำให้ข้อมูลหรือโปรแกรมถุกทำลายได้ง่าย เทคโนโลยีทำให้ข้อมูลถูกทำลายได้ง่ายด้วยไวรัสของคอมพิวเตอร์ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานช้าลง

ผลกระทบในการเกิดอาชญากรรม