วันเสาร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2558

อาชญากรรมและอาชญากรคอมพิวเตอร์ 3

วิธีป้องกันการเข้าถึงข้อมูลและคอมพิวเตอร์
1. ใช้ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน
2.ใช้วัตถุเพื่อการสู่ระบบ
3.ใช้อุปกรณ์ทางชีวภาพ
4.ระบบเรียกกลับ
การป้องกันการเข้าถึงข้อมูลและคอมพิวเตอร์

อาชญากรรมและอาชญากรคอมพิวเตอร์ 2

    การใช้คอมพิวเตอร์ในฐานะเป็นเครื่องมีอในการก่ออาชญากรรม
1.การขโมยหมายเลขบัตรเครดิต
2.การแอบอ้าง
3.การกราดตรวจทางคอมพิวเตอร์
    คอมพิวเตอรืในฐานะของเป้าหมายอาชญากรรม 3 ประเด็น
1.การเข้าถึงและการใช้งานโดยไม่ได้รับอนุญาต
2.การก่อกวนหรือทำลายข้อมูล
3.การขโมยข้อมูลและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
    วิธีการใช้ในการกระทำความผิดทางอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
1. ดาตาลิง  คือ  การเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต
2.โทรจันฮอร์ส การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรืที่แฝงไว้ที่มีปรธโยชนื
3. ซาลามิเทคนิค วิธีการปัดเศษจำนวนเงิน
4.ซูเปอร์แซพปิง เป็นโปรแกรมที่ใช้ในศูนย์คอมพิวเตอร์ของบริษัทIBM
5.แทรปดอร์ การเขียนโปรแกรมที่เลียนแบบคล้ายหน้าจอปกติ
6.ลอจิกบอมบ์ การเขียนดปรแกรมคำสั่ง สามารถใช้ติดตามความเคลื่อนไหวของระบบบัญชี
7.อัสซินครอนีสแอตแทก คือ สามารถทำงานหลายอย่างพร้อมกัน
8.สกาเวนจิง คือ วิธีการที่จะได้ข้อมูลที่ทิ้งไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
9.ดาตาลีเกจ หมายถึง การกระทำให้ข้อมูลรั่วไหล
10 พิกกีแบงกิง ทำได้ทั้งกายภาพ
11.อิมเพอร์ซันเนชัน คือ การที่คนร้ายแกล้งปลอมเป็นบุคคลอื่น
12.ไวร์แทปพิง เป็นการลักลอบดักฟังสัญญาณสื่อสารโดยเจตนา
13.ซิมูเลชันแอนโมเดลลิง เครื่องในการวางแผนติดตามคามเคลื่อนไหวของอาชญากรรม

อาชญากรรมและอาชญากรคอมพิวเตอร์1

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คือ การกระทำที่ผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์
อาชญากรคอมพิวเตอร์ คือ  ผู้กระทำผิดกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
   1.แฮกเกอร์ คือ บุคคลที่ใช้ความสามารถในทางที่ไม่ถูกต้อง
    2. แครกเกอรื คือ แฮกเกอร์ที่ทำไปเพื่อผลประโยชน์
    3. แอกตีหรือไซเบอร์เทอร์รอริสต์ คือ แฮกเกอร์ที่ทำไปเพื่อผลประโยชน์ทางการเมือง
อาชญากรคอมพิวเตอร์จะก่ออาชญากรรม เป็น 9 ประเภท
1.การขโมยข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
2.การที่อาชญากรนำเอาระบบการสื่อสารมาปกปิกความผิด
3.การละเมิดสิทธิปลอมแปลงรูปแบบ
4. การใช้คอมพิวเตอรืแพร่ภาพ
5.การใช้คอมพิวเตอร์ฟอกเงิน
6. การที่ที่มีอันธพาลทางคอมพิวเตอร์เข้าไปก่อกวนทำลายระบบสาธรณูปโภค
7.การหลอกลวงให้ร่วมค้าขาย
8.การแทรกแวงข้อมูลเป็นประโยชน์ต่อตนโดยมิชอบ
9.การใช้คอมพิวเตอร์แอบโอนบัญชีผู้อื่นเข้ามา

กฎหมายเทคโนโลยี

  โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1.กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
2.กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เพื่อคุ้มครองสังคมจากความผิดทีเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร
3.กฎหมายการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกสื เพื่อคุ้มครองธุรกิจ
4. กฎหมายการสับเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์  เพื่อการทำนิติกรรมสัญญาทางอิเล็กทรอนิกส์
5.กฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์  เพื่อสร้างความมั่มใจให้แกคู่กรณี
6.กฎหมายการโอนเงินอิเล้กทรอนิกสื  เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค
7.กฎหมายโทรคมนาคม เพื่อวางกลไกลการเปิดเสรีให้มีการแข่งขัน
8.กฎหมายระหว่างประเทศ
9.กฎหมายที่เกี่ยวเนื่องกับอินเทอร์เน็ต
10.กฎหมายพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
การละเมิดกฎหมาย

ความหมายของจริยธรรม2

   ทรัพย์สินทางปัญญา
คือ สิทธิความเป็นเจ้าของหรือในการถือครองทรัพย์สินหรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา
    สิขสิทธิ์ หมายถึง สิทธิแต่ผู้เดียวที่กระทำการใดๆ ซึ่งลิขสิทธิในการป้องกันการคัดลอก ดังกล่าวลิข      สิทธิทั่วไปมีอายุ 50 ปี
    สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสำคัญออกให้คุ้มครองการประดิษฐ์ การประดิษฐ์มีอายุ 20 ปีนับตั้งแต่วันขอรับสิทธิบัตร
    อนุสิทธิบัตร หมายถึง เอกสารสิทธิที่แสดงถึงการจัดทะเบียนคุ้มครองการประดิาฐ์และการออกแบบ
การละเมิดลิขสิทธิ์
    1. การละเมิดสิทธิ์โดยตรง คือ การทำซ้ำ ดัดแปลง โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสทธิ์
    2.การละเมิดสิทธิืโดยอ้อม  คือ การกระทำทางการค้า หรือการกระทำที่มีส่วนนับสนุนดยละเมิดสิทธิของผู้อื่นแต่ยังกระทำเพื่อหากำไรจากงานนั้น ได้แก่ การขาย มีไว้เพื่อขาย เป็นต้น
    การเข้าถึงข้อมูล  ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงได้มีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงของผู้ใช้

ตัวอย่างข้อตกลงการใช้ซอฟต์แวร์

วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ความหมายของจริยธรรม1


   จริยธรรม   หมายถึง    หลักของความถูกและความผิดที่บุคคลใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ
1.การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย
2.การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล
3.การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอรืของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
4.การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
    กรอบความคิดเรื่องจริยธรรม
1.ความเป็นส่วนตัว คือ การเก็บรวบรวม ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับปัจเจกบุคคล
2.ความถูกต้อง  คือ ความถูกต้องแม่นยำ
3.ทรัพย์สินทางปัญญา  คือ กรรมสิทธิ์และมูลค่าของข้อมูลสารสนเทศ
4.การเข้าถึงข้อมูล คือ สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ
    ความเป็นส่วนตัว 
1. การเข้าไปดูข้อความในจดหมาย
2.การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหว
3.การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งต่างๆ
4.การรวบรวมข้อมุลประวัติลูกค้าขึ้นมาใหม่แล้วนำไปขายให้แก่บริษัทอื่น
    ความถูกต้อง
คือ ความถูกต้องและน่าเชื่อถือ ข้อมูลควรได้รับการตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะนำเข้าฐานข้อมูล

ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ2

ผลกระทบในทางลบ
    1.ทำให้เกิดอาชญากรรม การก่ออาชญากรรมโจรผู้ร้ายใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการวางแผนปล้น
    2.ทำให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย ทำให้สามรถติดต่อสื่อสารกันได้โดยไม่เห็นตัว ทำให้ความสัมพันธ์กับผู้อื่นน้อยลง
     3.ทำให้เกิดความวิตกกังวล ผลกระทบทางด้านจิตใจ ทำให้ผู้ใช้แรงงานอาจตกงานหรือหน่วยงานอาจเลิกว่าจ้างได้
    4.ทำให้เกิดการเสี่ยงภัยทางด้านธุรกิหากเกิดการสูยหายของข้อมูลเนื่องมาจากเหตุอุบัติเหตุ
    5.ทำให้มีการพัฒนาอาวุธที่มีอำนาจสูง การสร้างอาวุธที่มีอนุภาพการทำลายสูง ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดสงครามและมีการสูยเสีย
    6.ทำให้เกิดการแพร่วัฒนธรรมและกระจายข่าวสารที่ไม่เหมาะสมอย่างรวดเร็ว ข้อมูลข่าวสารในเรื่องภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น ภาพอนาจารหรือภาพที่ทำให้ผู้อื่นเสียหาย 
    7.ทำให้ข้อมูลหรือโปรแกรมถุกทำลายได้ง่าย เทคโนโลยีทำให้ข้อมูลถูกทำลายได้ง่ายด้วยไวรัสของคอมพิวเตอร์ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานช้าลง

ผลกระทบในการเกิดอาชญากรรม

ผลกระทบของเทคโนดลยีสารสนเทศ1

ผลกระทบในทางบวก
   1. ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์ ช่วยส่งเสริมให้มีประสิทธิภาพในการทำงาน ทำให้มนุษย์รับรู้ข้อมูลข่าวสารได้มากขึ้น
   2.ช่วยทำให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีขึ้น การผลิตในสมัยปัจจุบันใช้เครื่องจักรทำงานสินค้ามีคุณภาพดีและปริมาณพอเพียงกับความต้องการของผู้บริโภค
   3.ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยให้มีความสะดวกและมีประสิทธิภาพขึ้น   เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบการสื่อสารค้นคว้าวิจัย เช่น งานสำรวจทางด้านอวกาศ
   4.ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้กิจการทางการแพทยืเจริญกาวหน้า เช่น เครื่องเอกซเรย์ภาคตัดขวางที่สามารถตรวจดูอวัยวะต่างๆได้ การสร้างเครื่องกระตุ้นหัวใจ เป็นต้น
   5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์  สามารถทำงานอย่างรวดเร็ว เพื่อให้มนุษย์หาทางศึกษา เช่น การจำลองสภาแวดล้อม
   6.เทคโนโลยีสารสนเทสช่วยให้เศรฐกิจเจริญรุ่งเรือง การใช้เทคโนโลยีจำเป็นต่อการค้าขาย อุตสาหกรรม ช่วยส่งเสริมด้านเศรฐกิจ ทำให้กระแสเงินหมุนเวียนได้อย่างกว้างขวาง
    7.ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน  เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ทำให้ลดปัญหาในเรื่องการขัดแย้ง
    8.ช่วยส่งเสริมประชาธิปไตย มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทสเพื่อกระจายข่าวสารในการเลือกตั้ง
เทคโนโลยีในด้านการวิจัย

วันพฤหัสบดีที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2558

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเปลี่ยนแปลง

  1. เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศสภาพของสังคมโลกได้เปลี่ยนแปลงมาแล้ว 2 ครั้ง สังคมอุตสาหกรรมได้ดำเนินการมาจนถึงปัจจุบันและเข้าสู่สังคมสารสนเทสเกิดคำใหม่ว่า ซเบอร์สเปซ
  2. เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบตอบสนองความต้องการของผู้ใช้
  3. เทคโนโลยีสารสนเทสทำให้เกิดสภาพการทำงานแบบทุกสถานที่ ทำให้ผู้ใช้ขยายขอบเขตการดำเนินกิจกรรมไปทุกที่
  4. เทคโนโลยีสารสนเทสทำให้ระบบเศรฐกิจเปลี่ยนจากระบบท้องถิ่งไปเป็นตลาดโลก ระบบเสรฐกิจของทุกประเทศเชื่องโยงและมีผลกระทบต่อกัน
  5. เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้องคืกรมีลักษณะผูกพัน และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครื่อข่ายโครงสร้างขององค์กร
  6.เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการระยะยาว วิธีการตัดสินใจ ผู้ตัดสินใจมีทางเลือกได้มากและมีความรอบคอบในการตัดสินปัญหา
  7. เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีทีมีบทบาทที่สำคัญในทุกวงการ ดังนั้นจึงมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทาง สังคม วัมนธรรม 
การพูดคุยผ่านทางอินเทอร์เน็ต

การขยายตัวของเทคโนโลยีสารสนเทศ

     เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่มีการแพร่ขยายอย่างรวดเร็ว  จนมีความสามารถในการใช้งาน มีราคาถูกลง ผลของผลของการพัมนานี้ทำให้มีการประยุกตืใช้งานกันอย่างกว้างขวา
     ความก้าวหน้าของคอมพิวเตอร์  ทำให้อุปกรณ์ต่างมีขนาดเล็กลงแต่มีคามสามารถเพิ่มขึ้น และมีราคาถูกลง เทคโนดลยีสารสนเทสจะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน
     ปัจจุบันคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารได้สร้างประโยชนื โดยใช้ระบบสารสนเทศ ทำให้โอกาสการขยายตัวเทคโนโลบีสารสนเทศ นอกจากนี้ การเชื่อมโยงเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้สังคมโลกเป็นสังคมแบบไร้พรมแดน การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น  อินเทอร์เน็ตมีอัตราการขยายตัวสูงมาก
การขยายตัวของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเภทของระบบสารสนเทศ


ระบบสารสนเทศที่สำคัญ 3 ประเภท
ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการทำงานของผู้ปฏิบัติงานรือผู้บริหารระดับต่างๆ
   1. ระบบประมวลผลรายการ เป็นระบบที่หน้าที่ในการปฏิบัติงานประจำ ทำการบันทึกจัดเก็บ
   2. ระบบสำคัญงานอัตโนมัติ ผลลัพธ์ของระบบนี้มักอยู่ในรูปของเอกสารกำหนดการสิ่งพิมพ์
   3. ระบบงานสร้างความรู้ บุคลากรที่ทำงานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น ผลลัพธ์ของระบบนื้มักอยู่ในรูปของสิ่งประดิษฐ์
   4.ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง ผลลัพธ์ของระบบอยู่ในรูปของการพยากรณืหรือการคาดการณ์
     4.1 ระบบสารสนเทศการจำแนกตามหน้าท่ขององค์การ
         1. ระบบสารสนเทศด้านบัญชี  ด้านการเงิน  ด้านการผลิต การตลาดและด้านทรัพยากรมนุษย์
     4.2 ระบบสารสนเทศการจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ แบ่งเป็น 3 ระบบ
         1. ระบบสารสนเทศประมวลผลรายการ ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่มูลที่เกิดจากธุรกิจ
         2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบจะเชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่ในระบบประมวลผลรายงานเข้าด้วยกัน
         3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เป็นระบบที่ช่วยในการตัดสินใจสำหรับปํญหา
ระบบสารสนเทศของผู้ปฏิบัติงานหรือผู้บริหารในระดับต่าง

การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

    รหัสมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากมี 2  กลุ่ม รหัสมาตรฐานของสหรับอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทส หรือรหัสแอสกี และรหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยายหรือรหัสเอบซีดิก
  รหัสแอสกี การกำหนดรหัสแทนข้อมูลขึ้นอยู่กับชนิดของข้อมูลและคอมพิวเตอร์เป็นมาตรฐาน เรียกว่าแอสกีมาจากชื่อภาษาอังกฤษ รหัสอักขระแต่ละตัวประกอบด้วย 8 บิต

   รหัสเอบซีดิก การกำหนดรหัสจะใช้ 8 บิต หรือ1 ไบต์ต่อ 1 อักขระ เหมือนกับรหัสแอสกี แต่แบบของรหัสที่กำหนดจะแตกต่างกัน 
ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานสองเป็นระบบตัวเลขที่ประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัว คือ 0และ 1 เท่านั้น
เลขฐานสอง

สารสนเทศ 2

3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน
    3.1 การเก็บรักษาข้อมูล การนำข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึก
    3.2 การค้นหาข้อมูล มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไป
    3.3 การทำสำเนาข้อมูล
    3.4 การสื่อสาร
วิธีการประมวลผลข้อมูล
  1. การประมวลผลแบบเชื่อมตรง เป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด
  2. การประมวณผลแบบกลุ่ม การประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน
การฝาก-ถอนเงินด้วยเครื่องเอทีเอ็ม
การประมวลผลแบบเชื่อมตรง

คำอธิบายภาพ

ระบบารสนเทศ

 ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ดำเนินการจัดการข้อมูลข่าวสารในองค์กรให้สามารถนำมาใช้ได้อยา่งเป็นระบบ
   ระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์

     1. ฮาร์ดแวร์ หมายถึงอุปกรณ์ทางกายภาพซึ่งก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์และหน่วยประมวณผลต่างๆที่ใช้ในการรวบรวม
     2. ซอฟต์แวร์ ประกอบด้วยกลุ่มของโปรแกรมที่ใช้ในการปฏิบัติงานร่วมกับอาร์ดแวร์
     3.ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลและสารสนเทศที่ถุกเก็บอยู่ในฐานข้อมูล
     4.บุคลากร หมาถึง  บุคคลที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอรืทั้งหมด
     5. กระบวนงาน หมายถึง กลุ่มของคำสั่งหรือกฎที่แนะนำวิะีการปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์
     6.การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ไว้ค้วยกัน เพื่อให้สามารถสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้

สารสนเทศ 1

สารสนเทศ  หมายถึง ข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เพื่อให้ได้ผลตรงตามความต้องการข้อผู้ใช้ อยู่ในรูป แบบที่สามารถนำไปใช้งานได้
คุณลักษณะของสารสนเทศ
   1. ความถูกต้องแม่นยำ
   2.ความทันต่อการใช้งาน
   3.ความสมบูรร์และกะทัดรัด
   4.สอดคล้องต่อความต้องการ
   5.เข้าใจง่าย
   6.เชื่อถือได้
   7.คุ้มราคา
    8.ตรวจสอบได้
   9.สะดวกในการเข้าถึง
   10. ปลอดภัย
1.การจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
    1.1 การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การเก็บรวบรวมซึ่งมีจำนวนมากและต้องเก็บให้ทันเวลา
    1.2 การตรวจสอบข้อมูล มีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจำเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
2. การดำเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ
    2.1 การจัดแบ่งข้อมูล 
    2.2 การจัดเรียงข้อมูล ครมีการจัดเรียงข้อมูลตามลำดับ
    2.3 การสรุปผล
    2.4 การคำนวณ

ข้อมูล

 ข้อมูล หมายถึง ตัวแทนของเท็จจริง หรือความเป็นไปของสิ่งที่สนใจ
 คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
   1. ความถูกต้องแม่นยำ
   2. มีความเป็นปัจจุบัน
   3. ความสมบูรณ์ครบถ้วน
   4. ความกะทัดรัด
   5.ตรงกับความต้องการของผู้ใช้
ประเภทของข้อมูล
   1.การแบ่งข้อมูลตามแหล่งกำเนิด  แบ่งได้ 2 ประเภท
    1.1 ข้อมูลปฐมภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
    1.2 ข้อมูลทุติยภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว
   2.การแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล สามารถแบ่ง 2 ประเภท
    2.1 ข้อมูลเชิงปริมาณ หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนขนาดหรือปริมาณเป็นค่าตัวเลข
    2.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถวัดออกมาเป็นค่าตัวเลข
ข้อมูล

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทสในด้านต่างๆ

  1. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การพัฒนาใช้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่อสารให้สะดวก มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวยภายในบ้าน
   2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส  ทำให้เกิดการกระจายโอกาสการเรียนรู้ในสถานที่ต่างๆไม่ว่าจะที่ห่างไกลความสะดวก
    3. สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน  ปัจจุบันการเรียนการสอนส่วนมากมีการนำคอมพิวเตอร์มาเป็นสื่อการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉายภาพ  เป็นต้น
   4. เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ  เช่น การดูแลร้กษาป่า เป็นต้น
   5. เทคโนโลยีสารสนเทสกับการป้องกันประเทศ อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยนี้มีคอมพิวเตอร์มาเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบการควบคุม
    6.การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม ทางด้านการผลิตสินค้าอุตสหกรรมจำเป็นต้องหาวิธีการในการผลิตให้ได้มาก  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมาก
การเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

วันอังคารที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.เทคโนโลยีสารสนเทศชวยเพิ่มผลผลิต  ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
    การประกอบการทางด้านเศรษิจ  การค้า และอุตสาหกรรม ทำให้การบริการโดยรวมมีประสิทธิภาพ ในระบบการจัดการทุกแห่งต้องใช้ข้มูลเพื่อการดำเนินการและตัดสินใจ
2. เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนรูปแบบการบริการเป็นแบบกระจาย
    ระบบข้อมูลและการใช้ข้อมูล  การบริการต่างๆ จึงเน้นรูปแบบการบริการแบบกระจาย ผู้ใช้สามารถสั่งซื้อสินค้าจากที่บ้านได้
3. เทคโนโลยีสารสนเทสเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการดำเนินการในหน่วยงานต่างๆ 
    ปัจจุบันทุกหน่วยงานต่างพัฒนาระบบรวบรวมจัดเก็บข้อมูลเพ่อใช้ในองค์การ ระบบทะเบียนราษฎรที่จัดทำด้วนระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเวชระเบียนในโรงพยาบาล เป็นต้น
4. เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้องกับทุกคนทุกระดับ
    พัฒนาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจองตั๋วผ่านทางอินเทอร์เน็ต

วันอังคารที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2558

วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสรสนเทศ

  เทคโนโลยีสรสนเทศที่ใช้ในการจัดการสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ซึ่งมีวิวัฒนาการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
       ยุคที่ 1  การประมวลผลข้อมูล ใช้อมพิวเตอร์เพื่อการคำนวณและการประมวณผลข้อของงาน
       ยุคที่ 2  ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ  ช่วยในการตัดสินใจดำเนินการ ควบคุม  ติดตามผล
       ยุคที่ 3   การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ การใช้สารสนเทศที่ช่วยในการตัดสินใจนำหน่วยงานไปสู่ความสำเร็จ
       ยุคที่  4  เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นเครื่องมือช่วยในการจัดทำระบบสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

นิยามเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

      เทคโนโลยี  หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์  การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติและหาทางนำมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์
      สารสนเทศ   หมายถึง เทคโนโลยีสารสนเทศหรือไอทีเป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การรวบรวมการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล  การพิมพ์ การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล  เป็นต้น  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมี 2 สาขา คือ  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารโทสมาคม
สารสนเทศ
1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์  เป็นเทคโนโลยีที่มีส่วนสำคัญในการพัฒนาสารสนเทศจะใช้สำหรับการจัดการระบบสารสนเทศ  เพื่อให้ได้สารสนเทศตามที่ต้องการอย่างถูกต้อง ซึงกระบวนการจัดการหรือจัดทำระบบสารสนเทศที่สามารถผลิตสารสนเทศให้สนองความต้องการของผู้ใช้ประกอบด้วย 3 ประการ  คือ การนำข้อมูลเข้า  การประมวลผลข้อมูลและการแสดงผล
     การนำข้อมูลเข้าหรอการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนแรกของระบบสารสนเทศเมื่อมีข้อมูลแล้วจึงจะนำไปใช้งานด้านต่างๆ
      การประมวลผลข้อมูล  ขั้นตอนเทคโนโลยีส่วยช่วยให้การประมวลเป็นไปอย่างรวดเร็ว
      การแสดงผลข้อมูลสารสนเทศ การนำสารสนเทศออกมาแสดงให้เห็นโดยผ่านอุปกรณ์
2. เทคโนโลยีโทรคมนาคม คือเทคโนโลยีในการสื่อสารทางไกล เช่น โทรศัพท์

วันอังคารที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ

 การดำรงชีวิตของมนุษย์นปัจจุบัน  จะมีเทคโนโลยีเข้ามาตลอด เช่น การอาบน้ำ  ล้างหน้า  เป็นต้น
ในอดีตมุษย์ดำรงชีวิตอยู่ในป่า การพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ก็ได้เกิดขึ้นมาแล้ว ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต เช่น  การล่าสัตว์ เรื่องมืในการเดินทาง เป็นต้น  มนุษย์สามาถรส่งสัญญาณทางการสื่อสาร จนถึง 5,0000 ปี มนุษย์สามารถสร้างตัวหนังสือประมาณ 500 ถึง 800 ปีแล้ว เมื่อเทคโนโลยีเข้ามาในการพิมพ์  ทำให้การสื่อสารด้วยข้อความและภาษาเพิ่มมากขึ้นจนสามาถรสื่อสารการส่งข้อความกัน ได้
        ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทที่กว้างขวาง เป็นเครื่องมือสำคัญในการทำงานทุกด้าน  ไม่มีงานด้านใดที่ไม่มีผู้คิดประยุกต์หรือนำเทคโโลยีสารสนเทศเข้ามา  เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานการดำรงชีวิตในการระบบการผลิตสามารถผลิตสินค้าที่จำนวนมากและราคาถูก  การเดินทางเชื่อมโยงกันอย่างรวดเร็ว ประชาชนสะดวกสบายมากขึ้น
การดำรงชีวิตของมนุษณ์ในอดีต